เครื่องปรุงนำมาซึ่งอีกประการหนึ่งที่จะขาดไปสำหรับสิ่งนี้ในแต่ละครั้ง ซึ่งพื้นที่นั้นจะได้รับรสชาติจากเครื่องปรุงที่แตกต่างกันไปตามวัตถุดิบในพื้นที่ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นก็เช่นกัน ซึ่งแน่นอนว่าเราจะพาทุกคนไปพบกับบทความรวมเครื่องปรุงทั้ง 9 ที่จะแถมที่จะขาดไปไม่ได้แต่เพียงผู้เดียวเป็นของที่ทุกบ้านต้องติดให้ได้ EP.2 อย่าลืมรวบรวมเครื่องปรุง ของที่ควรจะได้รับหากจะทำอาหารญี่ปุ่นซึ่งก็มาต่อจากในบทความก่อนกับเครื่องปรุงอีก 5 คำสั่งที่เหลือทิ้งไว้ให้อนุญาติให้เราติดตามกันนะครับ
รวมเครื่องปรุงทั้ง 9 อย่างที่จะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว
โชยุ (醬油)
โชยุเป็นเครื่องปรุงพื้นฐานที่จะต้องมีทุกบ้าน ซึ่งโชยุเป็นเครื่องปรุงที่ได้รับอิทธิพลมาจากจีน จริง ๆ แล้วโชยุก็คือซีอิ๊วนั่นเองค่ะ แต่สิ่งที่โชยุแตกต่างจากซีอิ๊วก็คือวิธีการผลิตค่ะ โดยขั้นตอนการทำจะต้องนำถั่วเหลืองไปแช่น้ำจนนิ่มก่อน จากนั้นนำมาผสมกับข้าวสาลีบด, น้ำเปล่า และเกลือ เติมเชื้อจุลินทรีย์หรือเชื้อโคจิเพิ่มเข้าไปในขั้นตอนการหมัก หลังจากผ่านไปประมาณ 6 – 10 เดือนก็จะเริ่มมีน้ำสีดำ ๆ ออกมา คราวนี้เราก็จะนำถั่วหมักมากรองเอาเฉพาะน้ำและนำน้ำสีดำมาต้มเพื่อฆ่าเชื้ออีกรอบจึงจะสามารถนำมาปรุงอาหารได้ค่ะ โดยทั่วไปแล้วโชยุที่วางขายอยู่ในญี่ปุ่นจะมีมากมายหลายสูตร แต่ละสูตรก็จะมีสีที่แตกต่างกันเพื่อความสะดวกในการซื้อและเป็นที่จดจำได้ง่ายมากขึ้น ซึ่งโชยุในญี่ปุ่นสามารถแบ่งออกเป็น 5 สูตรหลัก ๆ ดังนี้
- โคอิคุจิ (こいくち) เป็นสูตรโชยุแบบออริจินอลที่มีความเข้มข้น เป็นที่นิยมและหาซื้อได้ง่ายที่สุดในญี่ปุ่นหรือประเทศไทย สูตรนี้นิยมผลิตกันในแถบคันโต มีส่วนผสมของถั่วเหลือง, ข้าวสาลี เกลือ และน้ำ ไม่มีส่วนประกอบอื่นเพิ่มเติม ซึ่งโคอิคุจิสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นต้ม, ผัด, แกง หรือทอดก็สามารถทำได้หมดค่ะ นอกจากนี้โคอิคุจิสามารถนำไปเป็นเบสในการผสมน้ำจิ้มหรือผสมกับเครื่องปรุงอื่น ๆ หรือจะนำมาจิ้มซูชิทานก็อร่อย
- อุสุคุจิ (うすくち) โชยุสูตรนี้จะมีสีอ่อนกว่าแบบแรก เป็นที่นิยมในแถบคันไซ อุสุคิจิเหมาะสำหรับการนำมาผสมในน้ำซุปเพราะสีอ่อน ๆ ของโชยุจะไม่เปลี่ยนสีอาหารแต่จะให้เพียงรสชาติเค็ม ๆ เท่านั้นค่ะ แต่ถึงจะมีสีอ่อน ๆ แต่อุสุคุจิกลับมาโซเดีนมมากกว่าโคอิคุจิถึง 2 เท่าเนื่องจากในกระบวนการผลิตมีการใช้ปริมาณของเกลือมากกว่าถั่วเหลือง
- ทามาริ (たまり) ทามาริจะเป็นโชยุที่มีความเข้มข้นสูงเนื่องจากส่วนผสมหลักจะมีแค่ถั่วเหลือง, น้ำ และเกลือ มีการผสมข้าวสาลีน้อยกว่าโชยุสูตรอื่น ๆ ดังนั้นทามาริจึงไม่ค่อยนิยมซื้อมาใช้ในบ้านสักเท่าไหร่เพราะทามาริจะนิยมนำมาทาบนข้าวเกรียบญี่ปุ่นหรือผสมเป็นซอสเทอริยากิ แต่เดี๋ยวนี้หลายแบรนด์มีการผลิตซอสเทอริยากิออกมาวางขายเพื่อเพิ่มความสะดวกมากขึ้น ความนิยมในการซื้อทามาริโชยุก็น้อยลงตามลำดับค่ะ แต่ถึงอย่างนั้นทามาริก็เป็นโชยุอีกหนึ่งชนิดที่เข้ากับซาชิมิและซูชิได้เป็นอย่างดี
- ไซชิโคมิ (さいしこみ) โชยุชนิดนี้จะนิยมผลิตในแถบซังอินหรือคิวชู กระบวนการผลิตไซชิโคมิจะแตกต่างจากการทำโชยุชนิดอื่นก็คือจะมีการนำโชยุที่มีอยู่แล้วมาหมักกับเชื้ออีกที ซึ่งคำว่าไซชิโคมิก็แปลว่าหมักอีกครั้งนั่นเองค่ะ สำหรับรสชาติก็จะมีทั้งเค็ม, หวาน และขม ทุกอย่างเข้มข้นภายในหนึ่งหยด คนญี่ปุ่นบางพื้นที่จะเรียกไซชิโคมิโชยุว่าซอสหวานและนิยมนำมาทำเป็นซอสสำหรับซูชิ, ซาชิมิ หรือเต้าหู้เย็น
- ชิโร่ (しろ) ชิโร่เป็นโชยุที่มีสีขาว ๆ ใส ๆ แตกต่างจากโชยุชนิดอื่นค่อนข้างมาก โดยคำว่าชิโร่แปลว่าสีขาวตามสีของตัวซอสที่มีความขาวใสที่ได้มาจากการผสมข้าวสาลีในปริมาณที่มากกว่าถั่วเหลือง สำหรับชิโร่โชยุมักจะนำมาปรุงรสซุปที่ต้องการให้มีสีใส ๆ อย่างซุปสาหร่ายหรือไข่ตุ๋นจะอร่อย หอม และไม่กลบกลิ่นและรสชาติของวัตถุดิบเลย
น้ำส้มสายชู (酢)
“ที่ไหนมีเหล้า ที่นั่นมีน้ำส้มสายชู” หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินประโยคนี้แต่นี่คือคำอธิบายที่เข้าใจได้ง่ายที่สุดสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างแอลกอฮอล์และน้ำส้มสายชู โดยเฉพาะในญี่ปุ่นที่โรงงานผลิตสาเกหลาย ๆ ที่มักจะมีการผลิตน้ำส้มสายชูออกมาวางจำหน่ายคู่กันด้วย เนื่องจากระหว่างกระบวนการผลิตสาเกจะมีเอทานอลและแอลกอฮอล์เกิดขึ้นและทั้งสองอย่างนี้จะกลายมาเป็นกรดน้ำส้ม ซึ่งวิธีการนี้ก็เป็นวิธีพื้นฐานในการผลิตน้ำส้มสายชูทุกชนิดค่ะ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าชนิดของน้ำส้มสายชูมีเยอะพอ ๆ กับชนิดของแอลกอฮอล์เลยทีเดียว สำหรับการทำซูชิน้ำส้มสายชูถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่เป็นตัวกำหนดรสชาติของซูชิคำนั้น ๆ และนอกจากนี้น้ำส้มสายชูยังสามารถนำมาดองผักแบบญี่ปุ่น, เป็นเครื่องปรุงรสอาหาร และนำมาผสมเป็นเครื่องดื่มได้อีกด้วย
- Komezu (米酢) เรารู้จักกันดีในชื่อน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว และส่วนประกอบหลักของน้ำส้มสายชูชนิดนี้ก็คือข้าวสาลีนั่นเองค่ะ สำหรับน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวหรือโคเมะซึจะมีรสชาติหวานอมเปรี้ยวนิด ๆ มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ของข้าว และมีรสชาติพิเศษที่เรียกว่า “รสชาติอูมามิ” ที่เป็นตัวช่วยให้อาหารมีรสชาติอร่อยกลมกล่อมมากขึ้น ยิ่งมีส่วนผสมของข้าวสายพันธุ์ดีเยอะเท่าไหร่ รสชาติของโคเมะซึก็จะยิ่งกลมกล่อมมากขึ้นเท่านั้น และโคเมะซึก็เป็นน้ำส้มสายชูที่เหมาะสำหรับนำมาผสมในข้าวสำหรับปั้นซูชิและทำผักดองอีกด้วย
- Kokumotsuzu (こくもつす) น้ำส้มสายชูหมักจากธัญพืชที่มีส่วนผสมของสาเก ลีส์ (กากสาเก), น้ำส้มสายชูจากลูกเดือย, น้ำส้มสายชูจากข้าวโพด และธัญพืช น้ำส้มสายชูหมักจากธัญพืชประกอบไปด้วยกรดอะมิโนที่ส่งผลดีต่อร่างกายและสุขภาพ มีรสชาติเปรี้ยว ให้ความรู้สึกสดชื่น เป็นน้ำส้มสายชูที่เป็นที่นิยมและสามารถนำมาประกอบอาหารญี่ปุ่นได้แทบจะทุกชนิดเลยค่ะ อีกทั้งน้ำส้มสายชูชนิดนี้ยังหาซื้อได้ง่ายอีกด้วย
- Kurozo (黒酢) น้ำส้มสายชูดำที่ทำมาจากข้าวกล้องหรือข้าวไม่ขัดสี ไม่คัดเอาจมูกข้าวออกทำให้น้ำที่ได้เป็นสีน้ำตาลเข้มไปจนถึงเกือบ ๆ ดำ และมีสารอาหารและคุณประโยชน์เยอะพอ ๆ กับความเข้มของสี สำหรับน้ำส้มสายชูดำจะมีกลิ่นหอมละมุนและเข้มข้นกว่าน้ำส้มสายชูทั่วไป มีกรดอะมิโนมสูงกว่าน้ำส้มทั่วไปประมาณ 5 – 20 เท่า นิยมนำมาใช้เป็นเครื่องปรุงสำหรับเมนูผัดเปรี้ยวหวานและผสมในเมนูขนมหรือเครื่องดื่ม
เกลือ (塩)
เกลือเป็นอีกหนึ่งเครื่องปรุงสำคัญที่ทุกครัวจะต้องไม่มีว่าจะเป็นชาวตะวันตกหรือตะวันออก แต่สำหรับญี่ปุ่นแล้วเกลือเป็นมากกว่าเครื่องปรุงเพราะมีความเชื่อกันว่าเกลือเป็นสารบริสุทธิ์ที่สามารถช่วยป้องกันอันตรายและใช้ไล่ภูตผีได้ ถ้าใครเคยไปเยือนร้านอาหารในแถบชนบทของญี่ปุ่นจะเห็นว่าหลาย ๆ ร้านมักจะมีจานที่บรรจุเกลือกองเล็ก ๆ วางไว้ที่ประตูทางเข้าทั้งซ้ายและขวา นั่นก็เพราะมีความเชื่อว่าเกลือมีความเกี่ยวข้องกับเทพเจ้า หากใครเดินข้ามกองเกลือแล้วก็จะถือว่าได้ปัดเป่าเอาความชั่วร้ายต่าง ๆ ออกจากตัวไปได้ อีกทั้งเกลือยังสามารถป้องกันไม่ให้วิญญาณเข้ามาสิงสู่อยู่ภายในร้านอาหาร หรือแม้แต่จุดต่าง ๆ ภายในบ้านของชาวญี่ปุ่นก็ยังมีการนำเกลือไปวางไว้เพื่อขับไล่ผีค่ะ อ่านมาถึงตรงนี้แล้วหลายคนอาจจะคุ้นเคยกันบ้างเพราะตอนนี้สายมูในบ้านเราก็นิยมนำเกลือมาวางในบ้านเพื่อรับทรัพย์เช่นกัน ในแง่ของการทำอาหารนั้นเกลือไม่ได้เป็นเพียงแค่สารให้ความเค็ม แต่เกลือยังสามารถช่วยขัดเกลาให้รสชาติของอาหารกลมกล่อมมากขึ้น ถ้าเพื่อน ๆ สังเกตจะเห็นว่าหากเมนูไหนเน้นรสชาติหวานก็จะต้องมีการเติมเกลือลงไปเพื่อปรับสมดุลไม่ให้อาหารมีรสชาติหวานแหลมจนแสบคอ หรือแม้แต่การถนอมอาหารก็มักจะมีการใช้เกลือเข้ามาช่วยดูดความชื้นและเก็บรักษาคุณภาพของอาหาร ยิ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับอาหารการกินและความสดใหม่ของวัตถุดิบ อีกทั้งยังใช้เครื่องปรุงรสน้อยมาก ๆ ดังนั้นเกลือจึงเป็นอีกหนึ่งเครื่องปรุงที่จะต้องมีกันทุกบ้านนั่นเองค่ะ โดยเฉพาะเกลือจากโอกินิวาที่ผลิตจากน้ำทะเลใสบริสุทธิ์ ไร้การปนเปื้อน เหมาะสำหรับนำมาปรุงอาหารและปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย
น้ำตาล (砂糖)
หลายคนอาจจะสงสัยว่าน้ำตาลนี่เป็นเครื่องปรุงสำคัญถึงขนาดติดท๊อป 5 เครื่องปรุงญี่ปุ่นเลยเหรอ เอาจริง ๆ แล้วน้ำตาลก็เป็นเครื่องปรุงพื้นฐานในครัวเอเชียหลาย ๆ ประเทศ ไม่ว่าจะเป็นครัวเกาหลี, ครัวญี่ปุ่น, ครัวจีน หรือแม้กระทั่งครัวไทยหรืออาหารไทยของเราก็มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบแทบจะทุกเมนู แต่สำหรับอาหารญี่ปุ่น น้ำตาลจะเน้นใช้ในส่วนของเมนูขนมหวานที่เราหลาย ๆ คนต่างก็ยอมรับว่าขนมหวานหรือเครื่องดื่มหวาน ๆ ของญี่ปุ่นนั้นมีกลิ่นหอมและมีรสชาติหวานชื่นใจ ซึ่งความลับของรสชาติหอมหวานเย้ายวนใจก็คือ คุโรซาโตะ (黒砂糖) หรือน้ำตาลอ้อยนั่นเองค่ะ สำหรับน้ำตาลอ้อยในญี่ปุ่นจะมีลักษณะเป็นก้อนหรือผงสีน้ำตาลเข้ม มาจากการนำน้ำอ้อยแท้ที่คั้นมาสด ๆ ร้อนมาเคี่ยวกับน้ำปูนใสจนเหนียวข้นขึ้นและมีสีน้ำตาลเข้ม เมื่อทิ้งไว้จนเย็นก็จะมีลักษณะแข็งและรสชาติหวานเย็น ๆ ไม่หวานแหลมเหมือนน้ำตาลทรายขาวที่ใช้กันทั่วไป สำหรับแหล่งผลิตน้ำตาลอ้อยในญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงจะอยู่ที่โอกินาว่าที่มีการเพาะปลูกอ้อยกันเป็นส่วนใหญ่มีรสชาติหอมอร่อย คนญี่ปุ่นนิยมนำน้ำตาลอ้อยมาเคี่ยวเป็นน้ำเชื่อมสำหรับราดลงบนขนมหวานอย่างโมจิ, แพนเค้ก, กวนกับถั่วแดง หรือทานคู่กับไอศครีม ทั้งนี้หากคุณจะใช้เป็นน้ำตาลที่ขึ้นชื่อของบ้านเราอาจจะเปลี่ยนมาเป็นน้ำตาลมะพร้าวก็ได้เช่นกัน
สรุป
นำมาซึ่งสิ่งที่ต้องทำแล้วนะครับสำหรับบทความรวมเครื่องปรุงทั้ง 11 มาสที่จะขาดไปไม่ได้แต่เพียงผู้เดียวเป็นของที่ทุกบ้านต้องปฏิบัติตามนั้น EP.2 จะเป็นอย่างไรนั้น ครับพอเห็นเครื่องปรุงแล้วเริ่มเริ่มต้นเข้าครัวลงมือทำอาหารกันรึยัง และก่อนจากผู้โดยสารด้วยกันหากเพื่อน ๆ คอยดูบทความเกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่นนำเข้าติดตามผลงานทั้งหมดของเราได้ที่เว็บไซด์นี้เลย ทางเราจะมีบทความดีๆ มีอะไรอัพเดทและนำเสนอสาระดีๆ ให้ชมกันตลอด ส่วนอันนี้ต้องขอตัวลาก่อนแล้วพบกันในบทความนี้ครั้งหน้านะครับ
เครื่องปรุง นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอีกหนึ่งอย่างที่จะขาดไม่ได้เลยสำหรับในการทำอาหาร ซึ่งในแต่ละพื้นที่นั้นก็จะมีรสชาติอาหารและเครื่องปรุงที่แตกต่างกันออกไป ตามวัตถุดิบในพื้นที่ ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นเองก็เช่นกัน ซึ่งในครั้งนี้เราก็จะพาทุกคนไปพบกับ บทความ รวมเครื่องปรุงทั้ง 9 ชนิด ที่คนญี่ปุ่นจะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว เป็นของที่ทุกบ้านจะต้องมีติดเอาไว้ EP.2 เรื่องนี้ ที่ได้รวบรวมเครื่องปรุงอาหารของคนญี่ปุ่นที่ไม่สามารถขาดไปได้หากทำอาหารญี่ปุ่น ซึ่งในครั้งนี้ก็มาต่อจากในบทความครั้งก่อน กับเครื่องปรุงอีก 5 ชนิดที่เหลือ โดยจะมีอะไรบ้างนั้นเราไปรับชมกันเลยครับ
รวมเครื่องปรุงทั้ง 9 ชนิด ที่คนญี่ปุ่นจะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว
โชยุ (醬油)
โชยุเป็นเครื่องปรุงพื้นฐานที่จะต้องมีทุกบ้าน ซึ่งโชยุเป็นเครื่องปรุงที่ได้รับอิทธิพลมาจากจีน จริง ๆ แล้วโชยุก็คือซีอิ๊วนั่นเองค่ะ แต่สิ่งที่โชยุแตกต่างจากซีอิ๊วก็คือวิธีการผลิตค่ะ โดยขั้นตอนการทำจะต้องนำถั่วเหลืองไปแช่น้ำจนนิ่มก่อน จากนั้นนำมาผสมกับข้าวสาลีบด, น้ำเปล่า และเกลือ เติมเชื้อจุลินทรีย์หรือเชื้อโคจิเพิ่มเข้าไปในขั้นตอนการหมัก หลังจากผ่านไปประมาณ 6 – 10 เดือนก็จะเริ่มมีน้ำสีดำ ๆ ออกมา คราวนี้เราก็จะนำถั่วหมักมากรองเอาเฉพาะน้ำและนำน้ำสีดำมาต้มเพื่อฆ่าเชื้ออีกรอบจึงจะสามารถนำมาปรุงอาหารได้ค่ะ โดยทั่วไปแล้วโชยุที่วางขายอยู่ในญี่ปุ่นจะมีมากมายหลายสูตร แต่ละสูตรก็จะมีสีที่แตกต่างกันเพื่อความสะดวกในการซื้อและเป็นที่จดจำได้ง่ายมากขึ้น ซึ่งโชยุในญี่ปุ่นสามารถแบ่งออกเป็น 5 สูตรหลัก ๆ ดังนี้
- โคอิคุจิ (こいくち) เป็นสูตรโชยุแบบออริจินอลที่มีความเข้มข้น เป็นที่นิยมและหาซื้อได้ง่ายที่สุดในญี่ปุ่นหรือประเทศไทย สูตรนี้นิยมผลิตกันในแถบคันโต มีส่วนผสมของถั่วเหลือง, ข้าวสาลี เกลือ และน้ำ ไม่มีส่วนประกอบอื่นเพิ่มเติม ซึ่งโคอิคุจิสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นต้ม, ผัด, แกง หรือทอดก็สามารถทำได้หมดค่ะ นอกจากนี้โคอิคุจิสามารถนำไปเป็นเบสในการผสมน้ำจิ้มหรือผสมกับเครื่องปรุงอื่น ๆ หรือจะนำมาจิ้มซูชิทานก็อร่อย
- อุสุคุจิ (うすくち) โชยุสูตรนี้จะมีสีอ่อนกว่าแบบแรก เป็นที่นิยมในแถบคันไซ อุสุคิจิเหมาะสำหรับการนำมาผสมในน้ำซุปเพราะสีอ่อน ๆ ของโชยุจะไม่เปลี่ยนสีอาหารแต่จะให้เพียงรสชาติเค็ม ๆ เท่านั้นค่ะ แต่ถึงจะมีสีอ่อน ๆ แต่อุสุคุจิกลับมาโซเดีนมมากกว่าโคอิคุจิถึง 2 เท่าเนื่องจากในกระบวนการผลิตมีการใช้ปริมาณของเกลือมากกว่าถั่วเหลือง
- ทามาริ (たまり) ทามาริจะเป็นโชยุที่มีความเข้มข้นสูงเนื่องจากส่วนผสมหลักจะมีแค่ถั่วเหลือง, น้ำ และเกลือ มีการผสมข้าวสาลีน้อยกว่าโชยุสูตรอื่น ๆ ดังนั้นทามาริจึงไม่ค่อยนิยมซื้อมาใช้ในบ้านสักเท่าไหร่เพราะทามาริจะนิยมนำมาทาบนข้าวเกรียบญี่ปุ่นหรือผสมเป็นซอสเทอริยากิ แต่เดี๋ยวนี้หลายแบรนด์มีการผลิตซอสเทอริยากิออกมาวางขายเพื่อเพิ่มความสะดวกมากขึ้น ความนิยมในการซื้อทามาริโชยุก็น้อยลงตามลำดับค่ะ แต่ถึงอย่างนั้นทามาริก็เป็นโชยุอีกหนึ่งชนิดที่เข้ากับซาชิมิและซูชิได้เป็นอย่างดี
- ไซชิโคมิ (さいしこみ) โชยุชนิดนี้จะนิยมผลิตในแถบซังอินหรือคิวชู กระบวนการผลิตไซชิโคมิจะแตกต่างจากการทำโชยุชนิดอื่นก็คือจะมีการนำโชยุที่มีอยู่แล้วมาหมักกับเชื้ออีกที ซึ่งคำว่าไซชิโคมิก็แปลว่าหมักอีกครั้งนั่นเองค่ะ สำหรับรสชาติก็จะมีทั้งเค็ม, หวาน และขม ทุกอย่างเข้มข้นภายในหนึ่งหยด คนญี่ปุ่นบางพื้นที่จะเรียกไซชิโคมิโชยุว่าซอสหวานและนิยมนำมาทำเป็นซอสสำหรับซูชิ, ซาชิมิ หรือเต้าหู้เย็น
- ชิโร่ (しろ) ชิโร่เป็นโชยุที่มีสีขาว ๆ ใส ๆ แตกต่างจากโชยุชนิดอื่นค่อนข้างมาก โดยคำว่าชิโร่แปลว่าสีขาวตามสีของตัวซอสที่มีความขาวใสที่ได้มาจากการผสมข้าวสาลีในปริมาณที่มากกว่าถั่วเหลือง สำหรับชิโร่โชยุมักจะนำมาปรุงรสซุปที่ต้องการให้มีสีใส ๆ อย่างซุปสาหร่ายหรือไข่ตุ๋นจะอร่อย หอม และไม่กลบกลิ่นและรสชาติของวัตถุดิบเลย
น้ำส้มสายชู (酢)
“ที่ไหนมีเหล้า ที่นั่นมีน้ำส้มสายชู” หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินประโยคนี้แต่นี่คือคำอธิบายที่เข้าใจได้ง่ายที่สุดสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างแอลกอฮอล์และน้ำส้มสายชู โดยเฉพาะในญี่ปุ่นที่โรงงานผลิตสาเกหลาย ๆ ที่มักจะมีการผลิตน้ำส้มสายชูออกมาวางจำหน่ายคู่กันด้วย เนื่องจากระหว่างกระบวนการผลิตสาเกจะมีเอทานอลและแอลกอฮอล์เกิดขึ้นและทั้งสองอย่างนี้จะกลายมาเป็นกรดน้ำส้ม ซึ่งวิธีการนี้ก็เป็นวิธีพื้นฐานในการผลิตน้ำส้มสายชูทุกชนิดค่ะ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าชนิดของน้ำส้มสายชูมีเยอะพอ ๆ กับชนิดของแอลกอฮอล์เลยทีเดียว สำหรับการทำซูชิน้ำส้มสายชูถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่เป็นตัวกำหนดรสชาติของซูชิคำนั้น ๆ และนอกจากนี้น้ำส้มสายชูยังสามารถนำมาดองผักแบบญี่ปุ่น, เป็นเครื่องปรุงรสอาหาร และนำมาผสมเป็นเครื่องดื่มได้อีกด้วย
- Komezu (米酢) เรารู้จักกันดีในชื่อน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว และส่วนประกอบหลักของน้ำส้มสายชูชนิดนี้ก็คือข้าวสาลีนั่นเองค่ะ สำหรับน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวหรือโคเมะซึจะมีรสชาติหวานอมเปรี้ยวนิด ๆ มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ของข้าว และมีรสชาติพิเศษที่เรียกว่า “รสชาติอูมามิ” ที่เป็นตัวช่วยให้อาหารมีรสชาติอร่อยกลมกล่อมมากขึ้น ยิ่งมีส่วนผสมของข้าวสายพันธุ์ดีเยอะเท่าไหร่ รสชาติของโคเมะซึก็จะยิ่งกลมกล่อมมากขึ้นเท่านั้น และโคเมะซึก็เป็นน้ำส้มสายชูที่เหมาะสำหรับนำมาผสมในข้าวสำหรับปั้นซูชิและทำผักดองอีกด้วย
- Kokumotsuzu (こくもつす) น้ำส้มสายชูหมักจากธัญพืชที่มีส่วนผสมของสาเก ลีส์ (กากสาเก), น้ำส้มสายชูจากลูกเดือย, น้ำส้มสายชูจากข้าวโพด และธัญพืช น้ำส้มสายชูหมักจากธัญพืชประกอบไปด้วยกรดอะมิโนที่ส่งผลดีต่อร่างกายและสุขภาพ มีรสชาติเปรี้ยว ให้ความรู้สึกสดชื่น เป็นน้ำส้มสายชูที่เป็นที่นิยมและสามารถนำมาประกอบอาหารญี่ปุ่นได้แทบจะทุกชนิดเลยค่ะ อีกทั้งน้ำส้มสายชูชนิดนี้ยังหาซื้อได้ง่ายอีกด้วย
- Kurozo (黒酢) น้ำส้มสายชูดำที่ทำมาจากข้าวกล้องหรือข้าวไม่ขัดสี ไม่คัดเอาจมูกข้าวออกทำให้น้ำที่ได้เป็นสีน้ำตาลเข้มไปจนถึงเกือบ ๆ ดำ และมีสารอาหารและคุณประโยชน์เยอะพอ ๆ กับความเข้มของสี สำหรับน้ำส้มสายชูดำจะมีกลิ่นหอมละมุนและเข้มข้นกว่าน้ำส้มสายชูทั่วไป มีกรดอะมิโนมสูงกว่าน้ำส้มทั่วไปประมาณ 5 – 20 เท่า นิยมนำมาใช้เป็นเครื่องปรุงสำหรับเมนูผัดเปรี้ยวหวานและผสมในเมนูขนมหรือเครื่องดื่ม
เกลือ (塩)
เกลือเป็นอีกหนึ่งเครื่องปรุงสำคัญที่ทุกครัวจะต้องไม่มีว่าจะเป็นชาวตะวันตกหรือตะวันออก แต่สำหรับญี่ปุ่นแล้วเกลือเป็นมากกว่าเครื่องปรุงเพราะมีความเชื่อกันว่าเกลือเป็นสารบริสุทธิ์ที่สามารถช่วยป้องกันอันตรายและใช้ไล่ภูตผีได้ ถ้าใครเคยไปเยือนร้านอาหารในแถบชนบทของญี่ปุ่นจะเห็นว่าหลาย ๆ ร้านมักจะมีจานที่บรรจุเกลือกองเล็ก ๆ วางไว้ที่ประตูทางเข้าทั้งซ้ายและขวา นั่นก็เพราะมีความเชื่อว่าเกลือมีความเกี่ยวข้องกับเทพเจ้า หากใครเดินข้ามกองเกลือแล้วก็จะถือว่าได้ปัดเป่าเอาความชั่วร้ายต่าง ๆ ออกจากตัวไปได้ อีกทั้งเกลือยังสามารถป้องกันไม่ให้วิญญาณเข้ามาสิงสู่อยู่ภายในร้านอาหาร หรือแม้แต่จุดต่าง ๆ ภายในบ้านของชาวญี่ปุ่นก็ยังมีการนำเกลือไปวางไว้เพื่อขับไล่ผีค่ะ อ่านมาถึงตรงนี้แล้วหลายคนอาจจะคุ้นเคยกันบ้างเพราะตอนนี้สายมูในบ้านเราก็นิยมนำเกลือมาวางในบ้านเพื่อรับทรัพย์เช่นกัน ในแง่ของการทำอาหารนั้นเกลือไม่ได้เป็นเพียงแค่สารให้ความเค็ม แต่เกลือยังสามารถช่วยขัดเกลาให้รสชาติของอาหารกลมกล่อมมากขึ้น ถ้าเพื่อน ๆ สังเกตจะเห็นว่าหากเมนูไหนเน้นรสชาติหวานก็จะต้องมีการเติมเกลือลงไปเพื่อปรับสมดุลไม่ให้อาหารมีรสชาติหวานแหลมจนแสบคอ หรือแม้แต่การถนอมอาหารก็มักจะมีการใช้เกลือเข้ามาช่วยดูดความชื้นและเก็บรักษาคุณภาพของอาหาร ยิ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับอาหารการกินและความสดใหม่ของวัตถุดิบ อีกทั้งยังใช้เครื่องปรุงรสน้อยมาก ๆ ดังนั้นเกลือจึงเป็นอีกหนึ่งเครื่องปรุงที่จะต้องมีกันทุกบ้านนั่นเองค่ะ โดยเฉพาะเกลือจากโอกินิวาที่ผลิตจากน้ำทะเลใสบริสุทธิ์ ไร้การปนเปื้อน เหมาะสำหรับนำมาปรุงอาหารและปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย
น้ำตาล (砂糖)
หลายคนอาจจะสงสัยว่าน้ำตาลนี่เป็นเครื่องปรุงสำคัญถึงขนาดติดท๊อป 5 เครื่องปรุงญี่ปุ่นเลยเหรอ เอาจริง ๆ แล้วน้ำตาลก็เป็นเครื่องปรุงพื้นฐานในครัวเอเชียหลาย ๆ ประเทศ ไม่ว่าจะเป็นครัวเกาหลี, ครัวญี่ปุ่น, ครัวจีน หรือแม้กระทั่งครัวไทยหรืออาหารไทยของเราก็มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบแทบจะทุกเมนู แต่สำหรับอาหารญี่ปุ่น น้ำตาลจะเน้นใช้ในส่วนของเมนูขนมหวานที่เราหลาย ๆ คนต่างก็ยอมรับว่าขนมหวานหรือเครื่องดื่มหวาน ๆ ของญี่ปุ่นนั้นมีกลิ่นหอมและมีรสชาติหวานชื่นใจ ซึ่งความลับของรสชาติหอมหวานเย้ายวนใจก็คือ คุโรซาโตะ (黒砂糖) หรือน้ำตาลอ้อยนั่นเองค่ะ สำหรับน้ำตาลอ้อยในญี่ปุ่นจะมีลักษณะเป็นก้อนหรือผงสีน้ำตาลเข้ม มาจากการนำน้ำอ้อยแท้ที่คั้นมาสด ๆ ร้อนมาเคี่ยวกับน้ำปูนใสจนเหนียวข้นขึ้นและมีสีน้ำตาลเข้ม เมื่อทิ้งไว้จนเย็นก็จะมีลักษณะแข็งและรสชาติหวานเย็น ๆ ไม่หวานแหลมเหมือนน้ำตาลทรายขาวที่ใช้กันทั่วไป สำหรับแหล่งผลิตน้ำตาลอ้อยในญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงจะอยู่ที่โอกินาว่าที่มีการเพาะปลูกอ้อยกันเป็นส่วนใหญ่มีรสชาติหอมอร่อย คนญี่ปุ่นนิยมนำน้ำตาลอ้อยมาเคี่ยวเป็นน้ำเชื่อมสำหรับราดลงบนขนมหวานอย่างโมจิ, แพนเค้ก, กวนกับถั่วแดง หรือทานคู่กับไอศครีม ทั้งนี้หากคุณจะใช้เป็นน้ำตาลที่ขึ้นชื่อของบ้านเราอาจจะเปลี่ยนมาเป็นน้ำตาลมะพร้าวก็ได้เช่นกัน
สรุป
แล้วก็จบลงไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วนะครับ สำหรับบทความ รวมเครื่องปรุงทั้ง 11 ชนิด ที่คนญี่ปุ่นจะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว เป็นของที่ทุกบ้านจะต้องมีติดเอาไว้ EP.2 เรื่องนี้ เป็นยังไงกันบ้างครับพอเห็นเครื่องปรุงแล้วเริ่มอยากไปเข้าครัวลงมือทำอาหารขึ้นมากันรึยัง และก่อนจากกันในครั้งนี้หากเพื่อน ๆ ชื่นชอบบทความเกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่น ก็สามารถติดตามผลงานทั้งหมดของเราได้ที่เว็บไซด์นี้เลย ทางเราจะมีบทความดี ๆ มีอัพเดทและนำเสนอให้เพื่อน ๆ ได้รับชมกันตลอด ส่วนในวันนี้ก็ต้องขอตัวลาไปก่อน แล้วพบกันใหม่ในบทความครั้งหน้านะครับ สวัสดีครับ
เครื่องปรุง นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอีกหนึ่งอย่างที่จะขาดไม่ได้เลยสำหรับในการทำอาหาร ซึ่งในแต่ละพื้นที่นั้นก็จะมีรสชาติอาหารและเครื่องปรุงที่แตกต่างกันออกไป ตามวัตถุดิบในพื้นที่ ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นเองก็เช่นกัน ซึ่งในครั้งนี้เราก็จะพาทุกคนไปพบกับ บทความ รวมเครื่องปรุงทั้ง 9 ชนิด ที่คนญี่ปุ่นจะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว เป็นของที่ทุกบ้านจะต้องมีติดเอาไว้ EP.2 เรื่องนี้ ที่ได้รวบรวมเครื่องปรุงอาหารของคนญี่ปุ่นที่ไม่สามารถขาดไปได้หากทำอาหารญี่ปุ่น ซึ่งในครั้งนี้ก็มาต่อจากในบทความครั้งก่อน กับเครื่องปรุงอีก 5 ชนิดที่เหลือ โดยจะมีอะไรบ้างนั้นเราไปรับชมกันเลยครับ
รวมเครื่องปรุงทั้ง 9 ชนิด ที่คนญี่ปุ่นจะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว
โชยุ (醬油)
โชยุเป็นเครื่องปรุงพื้นฐานที่จะต้องมีทุกบ้าน ซึ่งโชยุเป็นเครื่องปรุงที่ได้รับอิทธิพลมาจากจีน จริง ๆ แล้วโชยุก็คือซีอิ๊วนั่นเองค่ะ แต่สิ่งที่โชยุแตกต่างจากซีอิ๊วก็คือวิธีการผลิตค่ะ โดยขั้นตอนการทำจะต้องนำถั่วเหลืองไปแช่น้ำจนนิ่มก่อน จากนั้นนำมาผสมกับข้าวสาลีบด, น้ำเปล่า และเกลือ เติมเชื้อจุลินทรีย์หรือเชื้อโคจิเพิ่มเข้าไปในขั้นตอนการหมัก หลังจากผ่านไปประมาณ 6 – 10 เดือนก็จะเริ่มมีน้ำสีดำ ๆ ออกมา คราวนี้เราก็จะนำถั่วหมักมากรองเอาเฉพาะน้ำและนำน้ำสีดำมาต้มเพื่อฆ่าเชื้ออีกรอบจึงจะสามารถนำมาปรุงอาหารได้ค่ะ โดยทั่วไปแล้วโชยุที่วางขายอยู่ในญี่ปุ่นจะมีมากมายหลายสูตร แต่ละสูตรก็จะมีสีที่แตกต่างกันเพื่อความสะดวกในการซื้อและเป็นที่จดจำได้ง่ายมากขึ้น ซึ่งโชยุในญี่ปุ่นสามารถแบ่งออกเป็น 5 สูตรหลัก ๆ ดังนี้
- โคอิคุจิ (こいくち) เป็นสูตรโชยุแบบออริจินอลที่มีความเข้มข้น เป็นที่นิยมและหาซื้อได้ง่ายที่สุดในญี่ปุ่นหรือประเทศไทย สูตรนี้นิยมผลิตกันในแถบคันโต มีส่วนผสมของถั่วเหลือง, ข้าวสาลี เกลือ และน้ำ ไม่มีส่วนประกอบอื่นเพิ่มเติม ซึ่งโคอิคุจิสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นต้ม, ผัด, แกง หรือทอดก็สามารถทำได้หมดค่ะ นอกจากนี้โคอิคุจิสามารถนำไปเป็นเบสในการผสมน้ำจิ้มหรือผสมกับเครื่องปรุงอื่น ๆ หรือจะนำมาจิ้มซูชิทานก็อร่อย
- อุสุคุจิ (うすくち) โชยุสูตรนี้จะมีสีอ่อนกว่าแบบแรก เป็นที่นิยมในแถบคันไซ อุสุคิจิเหมาะสำหรับการนำมาผสมในน้ำซุปเพราะสีอ่อน ๆ ของโชยุจะไม่เปลี่ยนสีอาหารแต่จะให้เพียงรสชาติเค็ม ๆ เท่านั้นค่ะ แต่ถึงจะมีสีอ่อน ๆ แต่อุสุคุจิกลับมาโซเดีนมมากกว่าโคอิคุจิถึง 2 เท่าเนื่องจากในกระบวนการผลิตมีการใช้ปริมาณของเกลือมากกว่าถั่วเหลือง
- ทามาริ (たまり) ทามาริจะเป็นโชยุที่มีความเข้มข้นสูงเนื่องจากส่วนผสมหลักจะมีแค่ถั่วเหลือง, น้ำ และเกลือ มีการผสมข้าวสาลีน้อยกว่าโชยุสูตรอื่น ๆ ดังนั้นทามาริจึงไม่ค่อยนิยมซื้อมาใช้ในบ้านสักเท่าไหร่เพราะทามาริจะนิยมนำมาทาบนข้าวเกรียบญี่ปุ่นหรือผสมเป็นซอสเทอริยากิ แต่เดี๋ยวนี้หลายแบรนด์มีการผลิตซอสเทอริยากิออกมาวางขายเพื่อเพิ่มความสะดวกมากขึ้น ความนิยมในการซื้อทามาริโชยุก็น้อยลงตามลำดับค่ะ แต่ถึงอย่างนั้นทามาริก็เป็นโชยุอีกหนึ่งชนิดที่เข้ากับซาชิมิและซูชิได้เป็นอย่างดี
- ไซชิโคมิ (さいしこみ) โชยุชนิดนี้จะนิยมผลิตในแถบซังอินหรือคิวชู กระบวนการผลิตไซชิโคมิจะแตกต่างจากการทำโชยุชนิดอื่นก็คือจะมีการนำโชยุที่มีอยู่แล้วมาหมักกับเชื้ออีกที ซึ่งคำว่าไซชิโคมิก็แปลว่าหมักอีกครั้งนั่นเองค่ะ สำหรับรสชาติก็จะมีทั้งเค็ม, หวาน และขม ทุกอย่างเข้มข้นภายในหนึ่งหยด คนญี่ปุ่นบางพื้นที่จะเรียกไซชิโคมิโชยุว่าซอสหวานและนิยมนำมาทำเป็นซอสสำหรับซูชิ, ซาชิมิ หรือเต้าหู้เย็น
- ชิโร่ (しろ) ชิโร่เป็นโชยุที่มีสีขาว ๆ ใส ๆ แตกต่างจากโชยุชนิดอื่นค่อนข้างมาก โดยคำว่าชิโร่แปลว่าสีขาวตามสีของตัวซอสที่มีความขาวใสที่ได้มาจากการผสมข้าวสาลีในปริมาณที่มากกว่าถั่วเหลือง สำหรับชิโร่โชยุมักจะนำมาปรุงรสซุปที่ต้องการให้มีสีใส ๆ อย่างซุปสาหร่ายหรือไข่ตุ๋นจะอร่อย หอม และไม่กลบกลิ่นและรสชาติของวัตถุดิบเลย
น้ำส้มสายชู (酢)
“ที่ไหนมีเหล้า ที่นั่นมีน้ำส้มสายชู” หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินประโยคนี้แต่นี่คือคำอธิบายที่เข้าใจได้ง่ายที่สุดสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างแอลกอฮอล์และน้ำส้มสายชู โดยเฉพาะในญี่ปุ่นที่โรงงานผลิตสาเกหลาย ๆ ที่มักจะมีการผลิตน้ำส้มสายชูออกมาวางจำหน่ายคู่กันด้วย เนื่องจากระหว่างกระบวนการผลิตสาเกจะมีเอทานอลและแอลกอฮอล์เกิดขึ้นและทั้งสองอย่างนี้จะกลายมาเป็นกรดน้ำส้ม ซึ่งวิธีการนี้ก็เป็นวิธีพื้นฐานในการผลิตน้ำส้มสายชูทุกชนิดค่ะ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าชนิดของน้ำส้มสายชูมีเยอะพอ ๆ กับชนิดของแอลกอฮอล์เลยทีเดียว สำหรับการทำซูชิน้ำส้มสายชูถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่เป็นตัวกำหนดรสชาติของซูชิคำนั้น ๆ และนอกจากนี้น้ำส้มสายชูยังสามารถนำมาดองผักแบบญี่ปุ่น, เป็นเครื่องปรุงรสอาหาร และนำมาผสมเป็นเครื่องดื่มได้อีกด้วย
- Komezu (米酢) เรารู้จักกันดีในชื่อน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว และส่วนประกอบหลักของน้ำส้มสายชูชนิดนี้ก็คือข้าวสาลีนั่นเองค่ะ สำหรับน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวหรือโคเมะซึจะมีรสชาติหวานอมเปรี้ยวนิด ๆ มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ของข้าว และมีรสชาติพิเศษที่เรียกว่า “รสชาติอูมามิ” ที่เป็นตัวช่วยให้อาหารมีรสชาติอร่อยกลมกล่อมมากขึ้น ยิ่งมีส่วนผสมของข้าวสายพันธุ์ดีเยอะเท่าไหร่ รสชาติของโคเมะซึก็จะยิ่งกลมกล่อมมากขึ้นเท่านั้น และโคเมะซึก็เป็นน้ำส้มสายชูที่เหมาะสำหรับนำมาผสมในข้าวสำหรับปั้นซูชิและทำผักดองอีกด้วย
- Kokumotsuzu (こくもつす) น้ำส้มสายชูหมักจากธัญพืชที่มีส่วนผสมของสาเก ลีส์ (กากสาเก), น้ำส้มสายชูจากลูกเดือย, น้ำส้มสายชูจากข้าวโพด และธัญพืช น้ำส้มสายชูหมักจากธัญพืชประกอบไปด้วยกรดอะมิโนที่ส่งผลดีต่อร่างกายและสุขภาพ มีรสชาติเปรี้ยว ให้ความรู้สึกสดชื่น เป็นน้ำส้มสายชูที่เป็นที่นิยมและสามารถนำมาประกอบอาหารญี่ปุ่นได้แทบจะทุกชนิดเลยค่ะ อีกทั้งน้ำส้มสายชูชนิดนี้ยังหาซื้อได้ง่ายอีกด้วย
- Kurozo (黒酢) น้ำส้มสายชูดำที่ทำมาจากข้าวกล้องหรือข้าวไม่ขัดสี ไม่คัดเอาจมูกข้าวออกทำให้น้ำที่ได้เป็นสีน้ำตาลเข้มไปจนถึงเกือบ ๆ ดำ และมีสารอาหารและคุณประโยชน์เยอะพอ ๆ กับความเข้มของสี สำหรับน้ำส้มสายชูดำจะมีกลิ่นหอมละมุนและเข้มข้นกว่าน้ำส้มสายชูทั่วไป มีกรดอะมิโนมสูงกว่าน้ำส้มทั่วไปประมาณ 5 – 20 เท่า นิยมนำมาใช้เป็นเครื่องปรุงสำหรับเมนูผัดเปรี้ยวหวานและผสมในเมนูขนมหรือเครื่องดื่ม
เกลือ (塩)
เกลือเป็นอีกหนึ่งเครื่องปรุงสำคัญที่ทุกครัวจะต้องไม่มีว่าจะเป็นชาวตะวันตกหรือตะวันออก แต่สำหรับญี่ปุ่นแล้วเกลือเป็นมากกว่าเครื่องปรุงเพราะมีความเชื่อกันว่าเกลือเป็นสารบริสุทธิ์ที่สามารถช่วยป้องกันอันตรายและใช้ไล่ภูตผีได้ ถ้าใครเคยไปเยือนร้านอาหารในแถบชนบทของญี่ปุ่นจะเห็นว่าหลาย ๆ ร้านมักจะมีจานที่บรรจุเกลือกองเล็ก ๆ วางไว้ที่ประตูทางเข้าทั้งซ้ายและขวา นั่นก็เพราะมีความเชื่อว่าเกลือมีความเกี่ยวข้องกับเทพเจ้า หากใครเดินข้ามกองเกลือแล้วก็จะถือว่าได้ปัดเป่าเอาความชั่วร้ายต่าง ๆ ออกจากตัวไปได้ อีกทั้งเกลือยังสามารถป้องกันไม่ให้วิญญาณเข้ามาสิงสู่อยู่ภายในร้านอาหาร หรือแม้แต่จุดต่าง ๆ ภายในบ้านของชาวญี่ปุ่นก็ยังมีการนำเกลือไปวางไว้เพื่อขับไล่ผีค่ะ อ่านมาถึงตรงนี้แล้วหลายคนอาจจะคุ้นเคยกันบ้างเพราะตอนนี้สายมูในบ้านเราก็นิยมนำเกลือมาวางในบ้านเพื่อรับทรัพย์เช่นกัน ในแง่ของการทำอาหารนั้นเกลือไม่ได้เป็นเพียงแค่สารให้ความเค็ม แต่เกลือยังสามารถช่วยขัดเกลาให้รสชาติของอาหารกลมกล่อมมากขึ้น ถ้าเพื่อน ๆ สังเกตจะเห็นว่าหากเมนูไหนเน้นรสชาติหวานก็จะต้องมีการเติมเกลือลงไปเพื่อปรับสมดุลไม่ให้อาหารมีรสชาติหวานแหลมจนแสบคอ หรือแม้แต่การถนอมอาหารก็มักจะมีการใช้เกลือเข้ามาช่วยดูดความชื้นและเก็บรักษาคุณภาพของอาหาร ยิ่งญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับอาหารการกินและความสดใหม่ของวัตถุดิบ อีกทั้งยังใช้เครื่องปรุงรสน้อยมาก ๆ ดังนั้นเกลือจึงเป็นอีกหนึ่งเครื่องปรุงที่จะต้องมีกันทุกบ้านนั่นเองค่ะ โดยเฉพาะเกลือจากโอกินิวาที่ผลิตจากน้ำทะเลใสบริสุทธิ์ ไร้การปนเปื้อน เหมาะสำหรับนำมาปรุงอาหารและปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย
น้ำตาล (砂糖)
หลายคนอาจจะสงสัยว่าน้ำตาลนี่เป็นเครื่องปรุงสำคัญถึงขนาดติดท๊อป 5 เครื่องปรุงญี่ปุ่นเลยเหรอ เอาจริง ๆ แล้วน้ำตาลก็เป็นเครื่องปรุงพื้นฐานในครัวเอเชียหลาย ๆ ประเทศ ไม่ว่าจะเป็นครัวเกาหลี, ครัวญี่ปุ่น, ครัวจีน หรือแม้กระทั่งครัวไทยหรืออาหารไทยของเราก็มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบแทบจะทุกเมนู แต่สำหรับอาหารญี่ปุ่น น้ำตาลจะเน้นใช้ในส่วนของเมนูขนมหวานที่เราหลาย ๆ คนต่างก็ยอมรับว่าขนมหวานหรือเครื่องดื่มหวาน ๆ ของญี่ปุ่นนั้นมีกลิ่นหอมและมีรสชาติหวานชื่นใจ ซึ่งความลับของรสชาติหอมหวานเย้ายวนใจก็คือ คุโรซาโตะ (黒砂糖) หรือน้ำตาลอ้อยนั่นเองค่ะ สำหรับน้ำตาลอ้อยในญี่ปุ่นจะมีลักษณะเป็นก้อนหรือผงสีน้ำตาลเข้ม มาจากการนำน้ำอ้อยแท้ที่คั้นมาสด ๆ ร้อนมาเคี่ยวกับน้ำปูนใสจนเหนียวข้นขึ้นและมีสีน้ำตาลเข้ม เมื่อทิ้งไว้จนเย็นก็จะมีลักษณะแข็งและรสชาติหวานเย็น ๆ ไม่หวานแหลมเหมือนน้ำตาลทรายขาวที่ใช้กันทั่วไป สำหรับแหล่งผลิตน้ำตาลอ้อยในญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงจะอยู่ที่โอกินาว่าที่มีการเพาะปลูกอ้อยกันเป็นส่วนใหญ่มีรสชาติหอมอร่อย คนญี่ปุ่นนิยมนำน้ำตาลอ้อยมาเคี่ยวเป็นน้ำเชื่อมสำหรับราดลงบนขนมหวานอย่างโมจิ, แพนเค้ก, กวนกับถั่วแดง หรือทานคู่กับไอศครีม ทั้งนี้หากคุณจะใช้เป็นน้ำตาลที่ขึ้นชื่อของบ้านเราอาจจะเปลี่ยนมาเป็นน้ำตาลมะพร้าวก็ได้เช่นกัน
สรุป
แล้วก็จบลงไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วนะครับ สำหรับบทความ รวมเครื่องปรุงทั้ง 11 ชนิด ที่คนญี่ปุ่นจะขาดไปไม่ได้แม้แต่อย่างเดียว เป็นของที่ทุกบ้านจะต้องมีติดเอาไว้ EP.2 เรื่องนี้ เป็นยังไงกันบ้างครับพอเห็นเครื่องปรุงแล้วเริ่มอยากไปเข้าครัวลงมือทำอาหารขึ้นมากันรึยัง และก่อนจากกันในครั้งนี้หากเพื่อน ๆ ชื่นชอบบทความเกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่น ก็สามารถติดตามผลงานทั้งหมดของเราได้ที่เว็บไซด์นี้เลย ทางเราจะมีบทความดี ๆ มีอัพเดทและนำเสนอให้เพื่อน ๆ ได้รับชมกันตลอด ส่วนในวันนี้ก็ต้องขอตัวลาไปก่อน แล้วพบกันใหม่ในบทความครั้งหน้านะครับ สวัสดีครับ แนะนำเว็บ : Bkkcar4cash รับจำนำรถ